การประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางกายภาพในพื้นที่ประสบธรณีพิบัติภัย จากการเกิดคลื่นยักษ์ (tsunami) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 บริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศไทย The Application of GIS and Remote Sensing on Assessing Physical Impact Caused by Tsunami on Dec,26 2004 in the Coastal Zone of Thailand โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง และทีมงานวิจัย ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย [ GISTHAI ] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย e - mail : sombat@gisthai.org ByAssistant Professor Sombat Yumuang et al. Geo-InformaticS Center for Thailand [ GISTHAI ] Chulalongkorn University |
ตัวอย่างภาพข้อมูลจากดาวเทียม Ikonos อธิบายลักษณะทางกายภาพในเบื้องต้นของพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากคลื่นยักษ์ (Tsunamis) ก่อนและหลังเกิดเหตุการณ์ The samples of Ikonos satellite images showed the comparative physical and geological features of affected areas in pre and post tsunami disaster |
1. บริเวณแหลมปะการัง, เขาหลัก จ. พังงา (Pakarang Cape, Kao Lak Phangnga Province) |
||
ภาพซ้าย: เป็นภาพที่ถ่ายเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2547 Left: Satellite image acquired on 11 February 2004 |
ภาพขวา: เป็นภาพที่ถ่ายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2547 Right: Satellite image acquired on 29 Decembar 2004 |
|
ภาพก่อนเกิดเหตุการณ์ Satellite Image in pre-tsunami disaster |
ภาพหลังเกิดเหตุการณ์ 3 วัน Satellite Image in post-tsunami disaster |
|
- ในบริเวณนี้ยังเต็มไปด้วยความสมบูรณ์ของพืชพรรณต่างๆ (สีเขียว) - รูปร่างของแหลมปะการัง (ในกรอบสีแดง) - แนวหาดทราย (ในกรอบสีน้ำเงิน) - ท้องทะเลรอบแหลมปะการัง จะมีสีเหลืองอ่อนผสมฟ้าอ่อน ซึ่งแสดงถึงการสะท้อนลักษณะของน้ำทะเลผสมกับสิ่งอื่น ที่อาจจะเป็นแนวปะการัง แนวหิน และตะกอนต่างๆที่จะสะสมตัวให้บริเวณแหลมงอกขึ้น ซึ่งจะเป็นพื้นที่ที่อ่อนไหวง่ายต่อการสลายตัว - This area was fully covered by vegetation (green color) - The feature of Pakarang Cape (the red box) - Shoreline (the dark blue box) - Sea water surrounding Pakarang Cape was shown in light yellow and blue color which reflected the mixture of sea water with other subjects such as coral reef, rock and sediments accumulated nearby the cape. This zone was vulnerable to be destroyed. |
- บริเวณพื้นที่สีเขียวที่แสดงความสมบูรณ์ของพืชพรรณในรูปบน เมื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงหลังเกิดเหตุการณ์จะเห็นว่าถูกแทนที่ด้วยโคลนตะกอน (สีน้ำตาล) - รูปร่างของแหลมปะการัง (ในกรอบสีแดง) จะเห็นว่าหลังเกิดเหตุการณ์บริเวณปลายสุดของแหลมไม่ปรากฏในภาพเลยซึ่งต้องรอผลจากการสำรวจภาคสนามว่าบริเวณนี้อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลในปัจจุบัน หรือพื้นที่เหนือน้ำทะเลส่วนใหญ่ถูกอิทธิพลของคลื่นยักษ์ทำให้สลายกลายเป็นตะกอนพัดพาเข้าสู่ฝั่ง - แนวหาดทราย (ในกรอบสีน้ำเงิน) หายไป - ท้องทะเลรอบแหลมปะการัง จะมีสีครามเข้ม - Green area was changed into brown color in post tsunami disaster due to the piling of muddy sediment up on the vegetation. - In post tsunami disaster, the point of Pakarang cape (the red box) could not be observed on the satellite image. The field survey will help us to prove that this point is located below or above Mean Sea Level (MSL). In case of the affected areas located above the MSL, it means the erosion is the main cause of this impact and such eroded sediment has flowed into the shoreline. - Shoreline (dark blue box) was not visible on the satellite image - The color of sea water surrounding the Pakarang Cape was changed to be indigo blue |
|
2. บริเวณ Blue village pakarang resort, แหลมปะการัง, เขาหลัก จ. พังงา (Blue village Pakarang Resort, Pakarang cape, Khao lak , Phangnga) |
||
ภาพซ้าย: เป็นภาพที่ถ่ายเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2547 Left: Satellite image acquired on 11 February 2004 |
ภาพขวา: เป็นภาพที่ถ่ายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2547 Right: Satellite image acquired on 29 December 2004 |
|
ภาพก่อนเกิดเหตุการณ์ Satellite Image in pre-tsunami disaster |
ภาพหลังเกิดเหตุการณ์ 3 วัน Satellite Image in post-tsunami disaster |
|
- ในบริเวณนี้ยังเต็มไปด้วยความสมบูรณ์ของพืชพรรณต่างๆ (สีเขียว) - กลุ่มอาคารของของ Blue Village Pakarang Resort (ในกรอบสีน้ำเงิน) - แนวหาดทราย (ในกรอบสีแดง) - This area was fully covered by vegetation (green color) - The cluster of building in Blue Village Pakarang Resort (dark blue box) - Shoreline (red box) |
- บริเวณพื้นที่สีเขียวที่แสดงความสมบูรณ์ของพืชพรรณในรูปบน เมื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงหลังเกิดเหตุการณ์จะเห็นว่าถูกแทนที่ด้วยโคลนตะกอน (สีน้ำตาล) - กลุ่มอาคารของของ Blue Village Pakarang Resort (ในกรอบสีน้ำเงิน) ที่เป็นจุดสีส้มซึ่งพบว่าบางส่วนสูญหายไป - แนวหาดทราย (ในกรอบสีแดง) หายไปหมด พร้อมๆกับร่องน้ำได้ถูกเปิดกว้างขึ้นมากกว่าเดิม - In post tsunami disaster, green color was changed into brown color due to the piling of muddy sediment up on the vegetation. - Some buildings of Blue Village Pakarang Resort (dark blue box) shown in orange point are disappeared - Shoreline shown (red box) was totally disappeared while, the water channel was broadened. |
|
3. บริเวณ Sofitel Magic Lagoon Resort & Spa, เขาหลัก จ. พังงา (Sofitel Magic Lagoon Resort & Spa, Khao lak , Phangnga) |
||
ภาพซ้าย: เป็นภาพที่ถ่ายเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2547 Left: Satellite image acquired on 11 February 2004 |
ภาพขวา: เป็นภาพที่ถ่ายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2547 Right: Satellite image acquired on 29 December 2004 |
|
ภาพก่อนเกิดเหตุการณ์ Satellite Image in pre-tsunami disaster |
ภาพหลังเกิดเหตุการณ์ 3 วัน Satellite Image in post-tsunami disaster |
|
- ในบริเวณนี้ยังเต็มไปด้วยความสมบูรณ์ของพืชพรรณต่างๆ (สีเขียว) - แนวหาดทราย (ในกรอบสีน้ำเงิน) - ตลอดเส้นทางน้ำยังเต็มไปด้วยพืชพรรณปกคลุมทั้งสองฝั่ง - บริเวณ Sofitel Magic Lagoon Resort & Spa (ในกรอบสีแดง) ที่ยังเห็นสระน้ำในโครงการมีสีน้ำเงินชัดเจน - This area was fully covered by vegetation (green color) - Shoreline (dark blue box) - Two sides of water way were fully covered by vegetation - The swimming pool in Sofitel Magic Lagoon Resort & Spa (red box) was clearly observed in dark blue color |
- บริเวณพื้นที่สีเขียวที่แสดงความสมบูรณ์ของพืชพรรณในรูปบน เมื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงหลังเกิดเหตุการณ์จะเห็นว่าถูกแทนที่ด้วยโคลนตะกอน (สีน้ำตาล) - แนวหาดทราย (ในกรอบสีน้ำเงิน) ที่พบว่าถูกกัดเซาะ และแนวชายฝั่งได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง รวมถึงแนวหาดทรายสูญหายไป - พืชพรรณปกคลุมทั้งสองฝั่งตลอดเส้นทางน้ำสูญหายไปทำให้เห็นเส้นทางน้ำชัดเจนมากกว่าเดิม - บริเวณ Sofitel Magic Lagoon Resort & Spa (ในกรอบสีแดง) ที่เห็นสระน้ำในโครงการมีสีขุ่นเปลี่ยนไป - Green color was changed into brown color in post tsunami disaster due to the piling of muddy sediment up on the vegetation. - The erosion of shoreline and vanished beach (dark blue box) were observed. At the same time, the coastal line was altered. - The water in the swimming pool of Sofitel Magic Lagoon Resort & Spa (red box) became muddy |
|