-
บรรยายเรื่อง "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับพระราชกรณียกิจ"
โดย ผศ. ดร. สมบัติ อยู่เมือง
ศูน...
-
ศักยภาพในเชิงพื้นที่ลุ่มน้ำโขง : ด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม อดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มการ...
-
..นำมาแบ่งปัน..เพื่อประเทศไทยที่รักของเราครับ
"..วิเคราะห์ภัยพิบัติอุทกภัยภาคใต้ (เสนอแนะแนวท...
-
ผมและทีมงาน Gisthai เพิ่งจัดทำแล้วเสร็จ
"แผนที่ภาพจำลองลักษณะภูมิประเทศที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมซ้...
-
ผมและทีมงาน Gisthai เพิ่งจัดทำแล้วเสร็จ
"แผนที่ภาพจำลองลักษณะภูมิประเทศที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมซ้...
-
ผมและทีมงาน Gisthai เพิ่งจัดทำแล้วเสร็จ
"แผนที่ภาพจำลองลักษณะภูมิประเทศที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมซ้...
-
ผมและทีมงาน Gisthai เพิ่งจัดทำแล้วเสร็จ
"แผนที่ภาพจำลองลักษณะภูมิประเทศที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมซ้...
-
ผมและทีมงาน Gisthai เพิ่งจัดทำแล้วเสร็จ
"แผนที่ภาพจำลองลักษณะภูมิประเทศที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมซ้...
Research & Consultancy
-
การประเมินศักยภาพของตะกอนไหลถล่มและน้ำปนตะกอนบ่า ในปี 25...
-
2001 debris flow and debris flood in Nam Ko area, Phetchabun province, central T...
-
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) สำหรับโรคไข้หวัดนก ในพื้นที่เฉพาะ...
-
โครงการศึกษาวิจัยการจัดทำดัชนีชี้วัดและสำรวจความคิดเห็นเชิงพื้นที่ของประชาชนท...
-
โครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเชิงบูรณาการในการบริหารจัดการปัญหาการก่อคว...
-
โครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดเพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของสำนักงานตำรวจแห่งชาต...
-
โครงการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการจัดบริการด้านการศึกษาเชิงพื้นที่ โดย...
-
โครงการออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูลการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่นเพื่อการบริหารในพื...
-
กรณีศึกษาในเบื้องต้น ถึงสาเหตุการเกิดน้ำท่วมและดินถล่มฉับพลัน บริเวณตำบลน้ำก้...
-
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลสำรวจระยะไกล...
-
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลสำรวจระยะไกล...
-
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลสำรวจระยะไกล...
-
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลสำรวจระยะไกล...
-
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลสำรวจระยะไกล...
-
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลสำรวจระยะไกล...
-
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลสำรวจระยะไกล เพื่อการประเมินความเส...
-
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลสำรวจระยะไกล เพื่อการประเมินความเส...
-
แผนที่แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลผลกระทบเชิงพื้นที่จากพายุหมุ่ยฟ้า
(Tropical Str...
-
โครงการการพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารและการตัดสินใจในการจัดการพื้นที่เสี่ยงภัย...
-
การ ประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางก...
-
การ ประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางก...
-
การ ประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางก...
-
การ ประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางก...
-
การ ประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางก...
-
การ ประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางก...
-
การ ประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางก...
-
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุ...
-
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุ...
-
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุ...
-
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุ...
-
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุ...
-
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุ...
-
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกร...
-
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุ...
Tsunami โศกนาฏกรรมอันดามัน
|
|
|
.....อย่าไปตระหนกตกใจกลัวจนเกินเหตุ...จากการให้ข่าวของนัก วิชาการ?จากหน้าตาทางสังคมที่ดูน่าเชื่อถือ?ขยันให้ข่าวสื่อแบบคาดเดาแบบไม่ มีเวลาชัดเจน...จากข่าวที่จะเกิดสึนามิขึ้นอีก (สึนามิที่มีสาเหตุมาจากแผ่นดินไหวที่ไม่มีระบบใดบอกได้ล่วงหน้าก่อนการ เกิด) พูดแบบนี้ต้องใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เชิงพื้นที่ไปอธิบาย..ไม่ใช่ โหราศาสตร์ครับ:-) ....ความรู้ความเข้าใจเชิงพื้นที่จะทำให้เกิดความตระหนัก รู้หลักการ&ถอดบทเรียนในการเตรียมความพร้อม และเตือนอย่างเป็นระบบที่ดีกว่าเมื่อคราวเกิดแผ่นดินไหว 9.0 เมื่อวันที่ 26ธันวาคม 2547 ในทะเลอันดามัน (ตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา) ที่ส่งผลให้เกิดสึนามิต่อแนวชายฝั่งทะเลอันดามันของบ้านเรา ที่มีเวลาเวลาประมาณ 1.5 ชม. หลังเกิดแผ่นดินไหวก่อนที่คลื่นสึนามิจะถึงชายฝั่งทะเลอันดามันของบ้าน เรา.....เรียนรู้แบบวิทยาศาสตร์ด้วยปัญญาของเราได้เพิ่มเติมที่ ...รำลึก 9ปี สึนามิ @ 26 ธันวาคม 2547..ได้ที่
- ความรู้ด้านธรณีวิทยาและภูมิศาสตร์เชิงระบบจากภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ สำหรับระบบเฝ้าระวัง
และการจัดการเพื่อลดผลกระทบในอนาคต |
|
|
|
|
|
แผนที่แสดงรอยต่อแผ่นเปลือกโลกและตำแหน่งการเกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาดความ รุนแรงมากกว่า 7 ริกเตอร์ ในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2448 - 8 ตุลาคม 2548)
บริเวณทวีปเอเชีย และมหาสมุทรอินเดีย
|
Aftershocks of
26 Dec 04 - 27 Mar 05 |
|
Aftershocks of
28 Mar 05 - 1 Apr 05 |
|
for more information...
|
|
ผลการวิเคราะห์สถานการณ์พิบัติภัยจาก ดินถล่ม-น้ำปนตะกอนบ่า-น้ำหลาก และน้ำท่วมขัง บริเวณภาคเหนือ
-
การ ประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และข้อมูลจากการสำรวจระยะไกล (Rem...
-
ภาพจำลองสามมิติและตำแหน่งหมู่บ้านที่ได้รับความเสียหายบริเวณ จังหวัดอุตรดิตถ์ และจั...
-
การ ประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลจากการสำรวจระยะไกลเพื่อการบริหารจัด...
-
ภาพจำลองสามมิติ บริเวณ จังหวัดน่าน
...
-
แผนที่ภาพข้อมูลดาวเทียม Landsat และ แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน บริเวณ จังหวัดน่าน
...
-
โครงการ วิจัยการจัดทำระบบข้อมูลเชิงพื้นที่ของจังหวัดน่านเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ บร...
-
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และข้อมูลจากการสำรวจระยะไกล (Remo...
-
Details
-
Category: Learning GIS
-
-
Hits: 5071
ลักษณะข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
โลกมีความสลับซับซ้อนมากเกินกว่าที่จะเก็บข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโลกไว้ในรูปข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จึงต้องเปลี่ยนปรากฏการณ์บน ผิวโลกจัดเก็บในรูปของตัวเลขเชิงรหัส (digital form) โดยแทนปรากฏการณ์เหล่านั้นด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า Feature
ประเภทของ Feature
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นตัวแทนของปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์บนโลกแผนที่ กระดาษบันทึกตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และแทนสิ่งต่างๆ บนโลกที่เป็นลายเส้นและพื้นที่ด้วยสัญลักษณ์แบบ จุด เส้น พื้นที่และตัวอักษร ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จะใช้ feature ประเภทต่างๆ ในการแทนปรากฏการณ์โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
-
จุด (Point)
-
เส้น (Arc)
-
พื้นที่ (Polygon)
|
|
จุด (Point)
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีตำแหน่งที่ตั้งเฉพาะเจาะจง หรือมีเพียงอย่างเดียว สามารถแทนได้ด้วยจุด (Point Feature)
-
หมุดหลักเขต
-
บ่อน้ำ
-
จุดชมวิว
-
จุดความสูง
-
อาคาร ตึก สิ่งก่อสร้าง
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับมาตราส่วน
มาตราส่วนแผนที่จะเป็นตัวกำหนดว่าจะแทนปรากฏการณ์บนโลกด้วยจุดหรือไม่
ตัวอย่างลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นจุด
ตัวอย่างเช่น บน แผนที่โลก มาตราส่วนเล็กจะแทนค่าที่ตั้งของเมืองด้วยจุด แม้ว่าในความเป็นจริงเมืองนั้นจะครอบคลุมพื้นที่จำนวนหนึ่งก็ตาม ในขณะเดียวกันบนแผนที่มาตราส่วนที่ใหญ่ขึ้นเมืองดังกล่าวจะปรากฏเป็นพื้นที่ และแต่ละอาคารจะถูกแทนค่าด้วยจุด
ข้อมูลค่าพิกัดของจุด
-
ค่าพิกัด x, y 1 คู่ แทนตำแหน่งของจุด
-
ไม่มีความยาวหรือพื้นที่
|
|
เส้น (Arc)
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่วางตัวไปตามทางระหว่างจุด 2 จุด จะแทนด้วยเส้น (Arc Feature)
ตัวอย่างลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นเส้น
-
ลำน้ำ
-
ถนน
-
โครงข่ายสาธารณูปโภค
-
เส้นชั้นความสูง
ข้อจำกัดเกี่ยวกับ Arc
Arc 1 เส้น มี Vertex ได้ไม่เกิน 500 Vertex โดย vertex ลำดับที่ 500 จะเปลี่ยนเป็น node และเริ่มต้น เส้นใหม่ด้วยการ identifier ค่าใหม่โดยอัตโนมัติ
ข้อมูลค่าพิกัดของ Arc
-
Vertex (ค่าพิกัด x, y คู่หนึ่งบน arc) เป็นตัวกำหนดรูปร่างของ arc
-
arc หนึ่งเส้นเริ่มต้นและจบลงด้าน Node
-
arc ที่ตัดกันจะเชื่อมต่อกันที่ Node
-
ความยาวของ arc กำหนดโดยระบบค่าพิกัด
|
|
พื้นที่ (Polygon)
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีพื้นที่เดียวกันจะถูกล้อมรอบด้วยเส้นเพื่อแสดงขอบเขต ตัวอย่างข้อมูลที่เป็นพื้นที่
-
เขตตำบล อำเภอ จังหวัด
-
ขอบเขตอุทยานแห่งชาติ
-
เขตน้ำท่วม
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับมาตราส่วน
มาตราส่วนของแหล่งที่มาของข้อมูลจะเป็นตัวกำหนดการแทนปรากฏการณ์บนโลกแห่งความเป็นจริงด้วย point หรือ polygon ตัวอย่าง เช่น อาคารบนมาตราส่วนขนาดใหญ่ เช่น 1 : 4,000 เป็น polygon ที่ถูกกำหนดขึ้น โดยขอบเขตอาคาร บนแผนที่ 1 : 50,000 ที่มาตราส่วนเล็ก อาคารจะแสดงด้วยจุด
ข้อมูลค่าพิกัดของ Polygon
-
polygon จะประกอบด้วย arc ตั้งแต่ 1 เส้นขึ้นไป แต่มี 1 Label point
-
มี Label point 1 point อยู่ภายในพื้นที่ปิดและใช้ในการแยกแยะแต่ละ polygon ออกจากกัน
|
0372385
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
49
235
1098
1272
4607
11942
372385
15.00%
26.15%
3.68%
0.97%
0.06%
54.13%
Online (15 minutes ago):10
10 guests
no members
Your IP:18.117.105.184
CopyRight© 1999-, Geo-InformaticS center for Thailand. All rights reserved.